เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก

โหย่ง ๆ คือ

การออกเสียง:
ความหมายมือถือ
  • โหฺย่ง
    ว. อาการที่เดินหรือวิ่งไม่เต็มเท้า คือ จดแต่ปลายเท้า เพื่อทำให้ตนสูงขึ้น หรือเพื่อไม่ให้เกิดเสียงดัง เช่น เดินโหย่ง ๆ วิ่งโหย่ง ๆ, เรียกรอยเท้าที่ไม่เต็ม เห็นแต่ปลายเท้าและส้นเท้า ว่า รอยเท้าโหย่ง หรือ รอยเท้าโหย่ง ๆ, อาการที่นั่งเอาปลายเท้าตั้งลงที่พื้น ส้นเท้าทั้ง ๒ รับก้น เรียกว่า นั่งโหย่ง หรือ นั่งโหย่ง ๆ, กระหย่ง กระโหย่ง หย่ง หรือ หย่ง ๆ ก็ว่า.
  • โหย     โหยฺ ก. อ่อนกำลัง, อ่อนใจ; ครวญถึง, ร่ำร้อง; มักใช้ประกอบคำอื่น ๆ เช่น โหยหา โหยหิว โหยหวน โหยไห้.
  • โหย่ง     ๑ โหฺย่ง ก. ทำให้สูงขึ้น เช่น โหย่งตัว, ทำสิ่งที่รวมตัวกันให้โปร่งหรือขยายตัวให้หลวมขึ้น เช่น โหย่งฟาง โหย่งผม โหย่งเส้นบะหมี่, หย่ง ก็ว่า. ๒
  • หย     หะยะ- น. ม้า. ( ป. , ส. ).
  • หย่ง     ๑ ก. ทำให้สูงขึ้น เช่น หย่งตัว, ทำสิ่งที่รวมตัวกันให้โปร่งหรือขยายตัวให้หลวมขึ้น เช่น หย่งฟาง หย่งผม หย่งเส้นบะหมี่, โหย่ง ก็ว่า. ๒ ว.
  • หย่ง ๆ     ว. อาการที่เดินหรือวิ่งไม่เต็มเท้า คือ จดแต่ปลายเท้า เพื่อทำให้ตนสูงขึ้นหรือเพื่อไม่ให้เกิดเสียงดัง เช่น เดินหย่ง ๆ วิ่งหย่ง ๆ,
  • หยิบโหย่ง    ว. กรีดกราย, ทำอะไรไม่จริงจัง, ไม่เอาการเอางาน, ไม่ทะมัดทะแมง, เช่น ท่าทางหยิบโหย่งอย่างนี้ จะไปทำมาหากินอะไรได้.
  • คนหยิบโหย่ง    คนไม่ทำงานจริงจัง
  • กระโหย่ง    ๑ -โหฺย่ง ก. ทำให้สูงขึ้น เช่น กระโหย่งตัว, ทำสิ่งที่รวมตัวกันให้โปร่งหรือขยายตัวให้หลวมขึ้น เช่น กระโหย่งฟาง, กระหย่ง หย่ง หรือ โหย่ง ก็ว่า. ๒ -โหฺย่ง ว. อาการที่เดินหรือวิ่งไม่เต็มเท้า คือ จดแต่ปล
  • หย็องแหย็ง ๆ    ว. ทำท่าเล่น ๆ ไม่เอาจริงเอาจัง เช่น นักมวยคู่นี้มัวแต่เต้นหย็องแหย็ง ๆ ไม่ชกกันเสียที; ไม่มีท่าทาง, ไม่เป็นระเบียบ, เช่น เต้นหย็องแหย็ง กระโดดหย็องแหย็ง ๆ.
  • กระหย่ง กระโหย่ง    หย่ง เขย่ง โหย่ง
  • กัลโหย    กัน- ก. กรรโหย เช่น สารเสียงหงสกัลโหย. (สมุทรโฆษ).
  • ระโหย    ก. อิดโรยเพราะหิวหรืออดนอนเป็นต้น.
  • หยุดโหม    ดับ หยุดกระพือ หยุดลุกไหม้
  • หิวโหย    v. อดอยากไม่มีอาหารจะกิน ตัวอย่างการใช้: คนชนบทยากจนมีฐานะความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นไม่ต้องอดอยากหิวโหยต่อไปเพราะความช่วยเหลือจากรัฐ
  • โหยง    โหฺยง ว. อาการที่กระโดดโดยฉับไวด้วยดีใจหรือตกใจ เช่น กระโดดโหยง สะดุ้งโหยง.